สำนักงานสภาเกษตรกรจังหวัดเชียงใหม่ ได้ดำเนินกิจกรรม การสร้างเครือข่ายสภาเกษตรกร จังหวัดเชียงใหม่
สำนักงานสภาเกษตรกรจังหวัดเชียงใหม่ ได้ดำเนินกิจกรรม การสร้างเครือข่ายสภาเกษตรกร จังหวัดเชียงใหม่
ครั้งที่ 1/2558 จำนวน 25 อำเภอ 204 ตำบน 2,066 หมู่บ้าน
โดยมีการจัดประชุมแต่ละอำเภอ มีเพื่อหาสาระสำคัญ ดังนี้
1. การตั้งคณะผู้ปฏิบัติงานสภาเกษตรกรระดับตำบลและหมู่บ้าน ตามระเบียบสภาเกษตรกรแห่งชาติ ว่าด้วยการจัดตั้งเครือข่ายสภาเกษตรกร พ.ศ. 2556
2. การประชาสัมพันธ์ ข้อเสนอเชิงนโยบายสภาเกษตรกรเพื่อการปฏิรูปภาคเกษตรกรรม สภาเกษตรกรแห่งชาติ ซึ่งมีข้อเสนอเพื่อนำไปสู่การปฏิรูประเทศไทยและปฏิรูปเชิงนโยบายและการพัฒนาภาคเกษตรกรรมที่ยั่งยืน จำนวน 16 เรื่องดังนี้
2.1 ข้อเสนอเชิงนโยบายการจัดสวัสดิการเกษตรกร
2.2 ข้อเสนอเชิงนโยบายการปฏิรูปที่ดิน
2.3 ข้อเสนอเชิงนโยบายเกษตรกรรมยั่งยืน
2.4 ข้อเสนอการสร้างเข็มแข็งแก่เกษตรกร องค์กรเกษตรกร
2.5 ข้อเสนอเชิงนโยบายการบริหารจัดการข้าวและชาวนาอย่างยั่งยืน
2.6 ข้อเสนอนโยบายแก้ไขปัญหายางพารา
2.7 ข้อเสนอเชิงนโยบายยุทธศาสตร์สับปะรดไทย
2.8 ข้อเสนอเชิงนโยบายยุทธศาสตร์มันสำปะหลัง
2.9 ข้อเสนอเชิงนโยบายยุทธศาสตร์การพัฒนาลำไย
2.10 ข้อเสนอเชิงนโยบายยุทธศาสตร์ปาล์มน้ำมัน
2.11 ข้อเสนอนโยบายยุทธศาสตร์โคเนื้อ – กระบือ
2.12 ข้อเสนอเชิงนโยบายพัฒนาโคนมและผลิตภัณฑ์นม
2.13 ข้อเสนอเชิงนโยบายการแก้ปัญหาอุตสาหกรรมกุ้งไทยอย่างยั่งยืน
2.14 ข้อเสนอเชิงนโยบายไม้ดอก ไม้ประดับ
2.15 ข้อเสนอเชิงโยบายนาเกลือ
2.16 ข้อเสนอเชิงนโยบายการแก้ปัญหาวิกฤติภัยแล้งภาคตะวันออกเฉียงเหนืออย่างยั่งยืน
3. แผนการขับเคลื่อนการพัฒนาเกษตรกรรม 2558 ของสภาเกษตรกรจังหวัดเชียงใหม่ ประกอบด้วย
3.1 สร้างเครือข่ายเกษตรกรตามชนิดพืช
3.2 สร้างศูนย์สัมมาชีพครบทุกอำเภอ
3.3 สร้างศูนย์ผลักดันสินค้าเกษตร
3.4 ขับเคลื่อนเกษตรพันธะสัญญา
3.5 ขับเคลื่อนแผนแม่บทลำไย
3.6 ขับเคลื่อนพัฒนาเกษตรกรรมร่วมกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและองค์กรบริหารส่วนจังหวัดเชียงใหม่ (อบจ.)
3.7 การขับเคลื่อนเครือข่ายสภาเกษตรกรจังหวัดเชียงใหม่ทุกระดับ
3.8 บูรณาการแผนการทำงานร่วมกับภาครัฐ ภาคเอกชน สถาบันเกษตรกรและภาคประชาสังคม เสนอแผนเร่งด่วนต่อรัฐบาล
4. การขึ้นทะเบียนเกษตรกรรายกลุ่มรายพืช- สัตว์ และที่ประชุมได้พิจารณาเรื่องดังต่อไปนี้
4.1 การขึ้นทะเบียนเกษตรกรรายกลุ่มการผลิตและการคัดเลือกประธานกลุ่มผลิต
4.2 การพิจารณาจัดตั้งแหล่งเรียนรู้ประจำตำบลเพื่อการพัฒนาศักยภาพผู้แทนเกษตรกรสู่การบูรณาการแหล่งเรียนร่วมกับ (ศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีประจำตำบาล)
4.3 การพิจารณาคัดเลือกแหล่งเรียนรู้เกษตรกรรมประจำอำเภอ (1 อำเภอ 1 แปลง GAP 1 QR code)
4.4 การบูรณาการเครือข่ายผู้แทนเกษตรกรเพื่อการขับเคลื่อนการแก้ไขปัญหาระบบเกษตร
4.5 แผนการแพ้ไขปัญหาด้านการเกษตรของตำบลและอำเภอเพื่อเสนอต่อสภาเกษตรจังหวัด
ครั้งที่ 1/2558 จำนวน 25 อำเภอ 204 ตำบน 2,066 หมู่บ้าน
โดยมีการจัดประชุมแต่ละอำเภอ มีเพื่อหาสาระสำคัญ ดังนี้
1. การตั้งคณะผู้ปฏิบัติงานสภาเกษตรกรระดับตำบลและหมู่บ้าน ตามระเบียบสภาเกษตรกรแห่งชาติ ว่าด้วยการจัดตั้งเครือข่ายสภาเกษตรกร พ.ศ. 2556
2. การประชาสัมพันธ์ ข้อเสนอเชิงนโยบายสภาเกษตรกรเพื่อการปฏิรูปภาคเกษตรกรรม สภาเกษตรกรแห่งชาติ ซึ่งมีข้อเสนอเพื่อนำไปสู่การปฏิรูประเทศไทยและปฏิรูปเชิงนโยบายและการพัฒนาภาคเกษตรกรรมที่ยั่งยืน จำนวน 16 เรื่องดังนี้
2.1 ข้อเสนอเชิงนโยบายการจัดสวัสดิการเกษตรกร
2.2 ข้อเสนอเชิงนโยบายการปฏิรูปที่ดิน
2.3 ข้อเสนอเชิงนโยบายเกษตรกรรมยั่งยืน
2.4 ข้อเสนอการสร้างเข็มแข็งแก่เกษตรกร องค์กรเกษตรกร
2.5 ข้อเสนอเชิงนโยบายการบริหารจัดการข้าวและชาวนาอย่างยั่งยืน
2.6 ข้อเสนอนโยบายแก้ไขปัญหายางพารา
2.7 ข้อเสนอเชิงนโยบายยุทธศาสตร์สับปะรดไทย
2.8 ข้อเสนอเชิงนโยบายยุทธศาสตร์มันสำปะหลัง
2.9 ข้อเสนอเชิงนโยบายยุทธศาสตร์การพัฒนาลำไย
2.10 ข้อเสนอเชิงนโยบายยุทธศาสตร์ปาล์มน้ำมัน
2.11 ข้อเสนอนโยบายยุทธศาสตร์โคเนื้อ – กระบือ
2.12 ข้อเสนอเชิงนโยบายพัฒนาโคนมและผลิตภัณฑ์นม
2.13 ข้อเสนอเชิงนโยบายการแก้ปัญหาอุตสาหกรรมกุ้งไทยอย่างยั่งยืน
2.14 ข้อเสนอเชิงนโยบายไม้ดอก ไม้ประดับ
2.15 ข้อเสนอเชิงโยบายนาเกลือ
2.16 ข้อเสนอเชิงนโยบายการแก้ปัญหาวิกฤติภัยแล้งภาคตะวันออกเฉียงเหนืออย่างยั่งยืน
3. แผนการขับเคลื่อนการพัฒนาเกษตรกรรม 2558 ของสภาเกษตรกรจังหวัดเชียงใหม่ ประกอบด้วย
3.1 สร้างเครือข่ายเกษตรกรตามชนิดพืช
3.2 สร้างศูนย์สัมมาชีพครบทุกอำเภอ
3.3 สร้างศูนย์ผลักดันสินค้าเกษตร
3.4 ขับเคลื่อนเกษตรพันธะสัญญา
3.5 ขับเคลื่อนแผนแม่บทลำไย
3.6 ขับเคลื่อนพัฒนาเกษตรกรรมร่วมกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและองค์กรบริหารส่วนจังหวัดเชียงใหม่ (อบจ.)
3.7 การขับเคลื่อนเครือข่ายสภาเกษตรกรจังหวัดเชียงใหม่ทุกระดับ
3.8 บูรณาการแผนการทำงานร่วมกับภาครัฐ ภาคเอกชน สถาบันเกษตรกรและภาคประชาสังคม เสนอแผนเร่งด่วนต่อรัฐบาล
4. การขึ้นทะเบียนเกษตรกรรายกลุ่มรายพืช- สัตว์ และที่ประชุมได้พิจารณาเรื่องดังต่อไปนี้
4.1 การขึ้นทะเบียนเกษตรกรรายกลุ่มการผลิตและการคัดเลือกประธานกลุ่มผลิต
4.2 การพิจารณาจัดตั้งแหล่งเรียนรู้ประจำตำบลเพื่อการพัฒนาศักยภาพผู้แทนเกษตรกรสู่การบูรณาการแหล่งเรียนร่วมกับ (ศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีประจำตำบาล)
4.3 การพิจารณาคัดเลือกแหล่งเรียนรู้เกษตรกรรมประจำอำเภอ (1 อำเภอ 1 แปลง GAP 1 QR code)
4.4 การบูรณาการเครือข่ายผู้แทนเกษตรกรเพื่อการขับเคลื่อนการแก้ไขปัญหาระบบเกษตร
4.5 แผนการแพ้ไขปัญหาด้านการเกษตรของตำบลและอำเภอเพื่อเสนอต่อสภาเกษตรจังหวัด